Special Article

FILM CLUB YEAR LIST 2022 : ตอน 4

ในปีที่ยากลำบากอีกปีหนึ่งนี้ FILM CLUB ขออนุญาตรวบรวมหนังแห่งปี 2022 ของหลากหลายผู้คนในแวดวงภาพยนตร์ ทั้งผู้กำกับ นักวิจารณ์ ผู้ชม และทีมงานของ FILM CLUB เองไว้สำหรับเป็นตัวเลือกท่ามกลางมหาสมุทรของภาพเคลื่อนไหว (ตอน 4)

Japanese Film Festival 2023 (2) : เติมขนมให้วันหวาน

ภาพจำหนึ่งที่ส่งอิทธิพลถึงผู้ชมชาวไทยมานาน จนกลายเป็นทั้งจุดขายที่แข็งแรงและความคาดหวังอันคุ้นเคยต่อหนังญี่ปุ่นกระแสหลัก คือภาพยนตร์กลุ่มที่อาจเรียกรวมๆ ได้ว่าออกฤทธิ์อย่างขนมหวาน –โรแมนติก ซาบซึ้ง หัวเราะได้ เบาสบาย ชุบชูใจ ให้พลังบวก

Japanese Film Festival 2023 (1) : ผ่านชีวิตในวันขม

ผู้ชมหลายคนอาจสังเกตเห็นเหมือนกันว่า หนังชีวิตติดขมทั้งสามเรื่องใน เทศกาลภาพยนตร์ญี่ปุ่น 2566 มีจุดร่วมเดียวกันอยู่ข้อหนึ่งคือ การเล่าเรื่องซึ่งเน้นให้คนดูค่อย ๆ ร่วมรับรู้ถึงแรงสะเทือนที่ขยายวงจากจุดศูนย์กลางของเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์รุนแรงเปลี่ยนชีวิต หรือแค่การดำรงอยู่ของคนคนหนึ่ง แล้วแตกรายละเอียดไปยังตัวละครรายล้อมอย่างหนังหลากชีวิต

FILM CLUB YEAR LIST 2022 : ตอน 3

ในปีที่ยากลำบากอีกปีหนึ่งนี้ FILM CLUB ขออนุญาตรวบรวมหนังแห่งปี 2022 ของหลากหลายผู้คนในแวดวงภาพยนตร์ ทั้งผู้กำกับ นักวิจารณ์ ผู้ชม และทีมงานของ FILM CLUB เองไว้สำหรับเป็นตัวเลือกท่ามกลางมหาสมุทรของภาพเคลื่อนไหว (ตอน 3)

FILM CLUB YEAR LIST 2022 : ตอน 2

ในปีที่ยากลำบากอีกปีหนึ่งนี้ FILM CLUB ขออนุญาตรวบรวมหนังแห่งปี 2022 ของหลากหลายผู้คนในแวดวงภาพยนตร์ ทั้งผู้กำกับ นักวิจารณ์ ผู้ชม และทีมงานของ FILM CLUB เองไว้สำหรับเป็นตัวเลือกท่ามกลางมหาสมุทรของภาพเคลื่อนไหว (ตอน 2)

FILM CLUB YEAR LIST 2022 : ตอน 1

(ตอน 1) ในปีที่ยากลำบากอีกปีหนึ่งนี้ FILM CLUB ขออนุญาตรวบรวมหนังแห่งปี 2022 ของหลากหลายผู้คนในแวดวงภาพยนตร์ ทั้งผู้กำกับ นักวิจารณ์ ผู้ชม และทีมงานของ FILM CLUB เองไว้สำหรับเป็นตัวเลือกท่ามกลางมหาสมุทรของภาพเคลื่อนไหว โดยไม่จำกัดทั้งหนังโรง หนังสตรีมมิ่ง หนังเทศกาลหรือวิดีโออาร์ต ทีวีซีรีส์ ไปจนถึงภาพยนตร์ตามช่องทางธรรมชาติ ไม่จำกัดปีที่หนังฉายและรูปแบบการฉาย แต่ละท่านสามารถเลือกหนังได้อย่างเสรีตามประสบการณ์การดูหนังของแต่ละท่านเอง

ย้อนฟังสุนทรพจน์ส่งท้ายปี 65 : การเดินทางของนักทำหนังที่ชื่อ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล

ทุกครั้งที่ 'อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล' มีโอกาสขึ้นพูดบนเวที สุนทรพจน์ของเขาจะสร้างกระแสความสนใจได้เสมอ อาจกล่าวได้ว่า การพูดของเขานับเป็นการเคลื่อนไหวอย่างหนึ่ง ...Film Club ขอพาย้อนรอยสำรวจว่าเขาแสดงจุดยืนอย่างไรในฐานะนักทำหนังที่เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก

อะไรคือ ‘หนังภาษาไต้หวัน’

'หนังภาษาไต้หวัน' เป็นหนึ่งในหนังกระแสหลักของไต้หวันยุคตั้งแต่หลังสงครามโลก ยืนหยัดข้ามเวลาตลอดช่วงของกฎอัยการศึกและจบสิ้นลงในปลายทศวรรษ 1970 ว่ากันว่าในช่วงเวลานั้นมีหนังถูกสร้างออกมาราวหนึ่งพันเรื่อง หนังเหล่านี้มีทุกขนบ เรียกว่าเป็นอุตสาหกรรมย่อม ๆ ในประเทศเลยก็ว่าได้โดยไม่ใช่หนังที่ถูกสนับสนุนจากรัฐ

โหยหานักขุด : เสียงสะท้อนจากโปรแกรมประกวด Asian Vision ในเทศกาล TIDF

ในช่วงเวลาวิกฤติของมนุษยชาติ ที่ความรู้สึกของการสูญเสียความไว้วางใจเริ่มส่งผลกระทบเราอย่างหนักนี้ ...วัฒนธรรม ศิลปะ วรรณกรรม ภาพยนตร์ ฯลฯ จะยังสามารถทำงานเป็นเครื่องชำระล้างจิตใจได้อยู่อีกหรือไม่? มันจะยังคงมอบความรู้สึกถึงคุณธรรม ความซื่อสัตย์ และความถูกต้องแก่ผู้คนเมื่อพวกเขาต้องการมากที่สุดได้หรือเปล่า?

Maid in Malacañang : เมื่อลูกมาร์กอสทำหนัง หวังล้างคราบเผด็จการ

แค่เดือนเดียวหลัง บงบง มาร์กอส (Bongbong Marcos, ลูกชายเฟอร์ดินานด์กับอิเมลดา มาร์กอส) กับ ซาร่า ดูเตอร์เต (Sara Duterte, ลูกสาวโรดริโก ดูเตอร์เต) ควงแขนเข้าทำเนียบมาลากันยังแบบแพ็คคู่ด้วยคะแนนเลือกตั้งระดับโคตรแลนด์สไลด์ หนังที่เขียนภาพเชิงบวกให้ตระกูลมาร์กอสเรื่องหนึ่งก็เข้าฉายในโรงภาพยนตร์ทั่วประเทศฟิลิปปินส์

10 หนังน่าดู ในเทศกาลภาพยนตร์ Signes de Nuit in Bangkok ครั้งที่ 8

ตัวเทศกาลหลักนั้นเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2003 ในปารีส ชื่อ signes de nuit หรือ signs of the night นั้น มีที่มาจากการฉายครั้งแรกๆ เทศกาลฉายในช่วงเวลากลางคืนและลากยาวไปจนจวบอรุณรุ่ง จนถึงตอนนี้เทศกาลหนังที่ก่อตั้งและดำเนินการแทบจะลำพังโดย Dieter Wieczoreck มีอายุย่างเข้ายี่สิบปีแล้ว เทศกาลที่ฉายหนังจากทั่วโลก และก็เดินทางไปทั่วโลกทั้งในฐานะโปรแกรมพิเศษ ไปจนถึงเทศกาลหลักที่ตอนนี้ปักหลักอยู่ใน ปารีส, เบอร์ลิน, ลิสบอน, เออร์บิโน, อิตาลี, ทูคูมาน, อาร์เจนตินา และ กรุงเทพฯ

หนัง “ยูเครน” ที่เราอยากดู

Film Club จึงขอเลือกแนะนำภาพยนตร์ซึ่งอาจยังไม่เป็นที่รู้จักนอกแวดวงเทศกาลหนัง คละปนกันไปทั้งหนังที่มีอายุแล้วสักหน่อย และหนังใหม่ที่เพิ่งทำเสร็จได้เปิดตัวออกฉายสดๆ ร้อนๆ ในช่วงเวลาที่ความขัดแย้งขึ้นสู่จุดสูงสุด แม้ว่าบางเรื่องจะไม่ได้ถือสัญชาติยูเครน หรือเป็นผลงานของคนทำหนังชาวยูเครนโดยตรง แต่ทุกเรื่องได้เข้าไปสำรวจ คลุกคลี เผชิญหน้า หรือเล่าเรื่องจากมุมต่างๆ ของสถานการณ์ความขัดแย้งในภาคตะวันออกของยูเครน ซึ่งดำเนินอยู่ตลอดมาเป็นเวลาเกือบทศวรรษ

ใบปิดหนังไทยด้วย “สีโปสเตอร์” จากความบังเอิญ สู่เอกลักษณ์อันไร้กาลเวลา

ใบปิด หรือ โปสเตอร์ เป็นสื่อโฆษณาที่เติบโตวิวัฒนาการมาคู่กับภาพยนตร์อย่างแยกจากกันไม่ได้ โดยในประเทศไทยนั้น รูปแบบของใบปิดก็มีการพัฒนามาตามยุคสมัยของเทคโนโลยีการผลิต ซึ่งช่วงเวลาที่เรียกว่าเป็นยุคทองของใบปิดหนังไทย ก็คือการค้นพบเทคนิค “การเขียนใบปิดด้วยสีโปสเตอร์” โดยบังเอิญของชายที่ชื่อ สมบูรณ์สุข นิยมศิริ หรือที่เรารู้จักกันในนาม “เปี๊ยกโปสเตอร์” และกลายเป็นจุดเริ่มต้นยุคทองของ “ใบปิดหนัง” สไตล์ไทยๆ ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวมาจนถึงทุกวันนี้

จากวงการหนังถึงฟิลิปปินส์: โปรดดูหนัง “ยุคมาร์กอส” ก่อนไปเลือกตั้ง!

ตั้งแต่ช่วงหลายเดือนก่อนวันเลือกตั้ง #MartialLawNeverAgain และ #NeverForget ถูกใช้เพื่อรณรงค์สร้างความรับรู้ในประเด็นกฎอัยการศึกและอำนาจอิทธิพลของตระกูลมาร์กอสอย่างต่อเนื่องในโลกออนไลน์ ซึ่งภาพยนตร์ก็เป็นเครื่องมือหนึ่งในการขับเคลื่อนทางการเมืองครั้งนี้

ฝันของ “คนจัดฉายหนังอิสระ” : รู้จักเพจ ‘เราว่าหนังเรื่องนี้ควรมีฉายที่อยุธยา’ กับภารกิจพาหนังหลากหลายสู่สายตาคนอยุธยา

"เราเริ่มกิจกรรมนี้ขึ้น โดยมาจากเรื่องง่ายๆ เลยครับ คืออยากดูหนังเรื่องนั้นเรื่องนี้กับแฟน ปกติจะเป็นผมเองที่หาโอกาสดูหนังมากกว่าแฟน เพราะส่วนใหญ่แฟนจะติดทำงานที่บ้านจนบางครั้งไม่สามารถใช้เวลาตรงนี้ร่วมกันได้ จึงเกิดกิจกรรมจัดฉายหนังขึ้นกัน"

ตื่นเพื่อที่จะฝัน: การตั้งคำถามท้องฟ้าและปมอิดิปัสใน Bodo (1993) และ รักที่ขอนแก่น (2015)

ถ้าหาก “รักที่ขอนแก่น” มีท่าทีของการพยายามทำลายอำนาจเผด็จการทหารและชายเป็นใหญ่ Bodo ก็เช่นกัน ผ่านตัวละครเพศชายจำนวนมากที่ไม่เป็นการเป็นงาน เพราะไม่มีการสู้รบจริงๆ กองทัพจึงเป็นการป้องกันศึกภายในมากกว่าศึกภายนอก

ฝันของคนทำ “พื้นที่ฉายหนังอิสระ” : รู้จัก a.e.y.space กับภารกิจพาหนังหลากหลายสู่สายตาคนสงขลา

"ปกติเป็นคนรักการดูหนังอยู่แล้วตั้งแต่เด็กๆ ดูมันทุกประเภท โตมาพอต้องกลับมาอยู่สงขลา มันก็ไม่มีทางเลือกการดูหนังบนจอใหญ่เท่าไหร่ อยากให้คนได้ดูหนังที่หลากหลาย ไม่โดนจำกัดโดยสายหนัง" เอ๋-ปกรณ์ รุจิระวิไล ผู้ก่อตั้ง a.e.y.space อีกหนึ่งใน "พื้นที่ฉายหนังอิสระ" ในจังหวัดสงขลา เล่าให้เราฟังถึงความรักที่มีต่อหนัง ความฝันอยากเป็นเจ้าของโรงหนัง จนมาถึงการเริ่มฉายหนังครั้งแรกในสเปซของเขาเมื่อปี 2015 และยังกลายมาเป็นพื้นที่พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันของผู้ชมหลังฉายหนังจบอีกด้วย มาทำความรู้จัก a.e.y.space กัน "a.e.y.space...

ศิลปินผิวสี หญิงขวาจัด อเมริกันชน คนทำหนังโป๊ – 4 หนังจาก SXSW ที่เราอยากดูตอนนี้และเดี๋ยวนี้

เทศกาลหนัง South by Southwest (SXSW) ประจำปี 2022 ที่เมืองออสติน รัฐเท็กซัส เพิ่งจบลงเมื่อวันอาทิตย์ที่ 20 มีนาคมที่ผ่านมา เรียกได้ว่าเป็นอีกปีที่คึกคัก เต็มไปด้วยหนังสารคดีนักดนตรี และหนังเดบิวต์ของผู้กำกับหน้าใหม่นับไม่ถ้วน และเหล่านี้คือ 4 เรื่องที่เราอยากพูดถึง

ฝันของคนทำ “พื้นที่ฉายหนังอิสระ” : รู้จัก Converstation กับภารกิจพาหนังหลากหลายสู่สายตาคนระยอง

เช่นเดียวกันกับพื้นที่อิสระในจังหวัดอื่น - Converstation เกิดขึ้นมาด้วยความตั้งใจแรงกล้าของกลุ่มคนไม่กี่คนที่ตัดสินใจว่าจะเลิกทนกับความ "ไม่มี"

ตลก / ประธานาธิบดี / ฮีโร่? : รู้จักประธานาธิบดียูเครนผ่านซีรีส์ ‘Servant of the People’

มั่นใจได้ว่าในช่วงเดือนที่ผ่านมา ไม่มีผู้นำโลกคนไหนเป็นที่รู้จักและถูกพูดถึงทั่วโลกไปมากกว่า วอลอดีเมียร์ เซเลนสกี้ (Volodymyr Zelenskyy) ประธานาธิบดียูเครนที่ยืนหยัดต่อสู้กับการบุกโจมตีของกองทัพรัสเซียภายใต้การนำของวลาดิเมียร์ ปูติน (Vladimir Putin) ผู้นำจอมเผด็จการของรัสเซียมา ณ จุดนี้กว่าสามอาทิตย์อย่างกล้าหาญ

ฝันของคนทำ “พื้นที่ฉายหนังอิสระ” : รู้จัก “เมืองทองรามา” ภารกิจพาหนังหลากหลายสู่สายตาคนพะเยา

ปวินท์ตัดสินใจกรุยหนทางใหม่สำหรับคนที่ชอบดูหนังแบบเดียวกันกับเขา และหลากพื้นที่หลายรูปแบบการจัดฉายจากมือของเขาก็กลายมาเป็นชีวิตชีวาของ "เมืองพะเยา" ที่เขาใช้ชีวิตอยู่

ฝันของคนทำ “พื้นที่ฉายหนังอิสระ” : รู้จัก “Lorem Ipsum” ภารกิจพาหนังหลากหลายสู่สายตาคนหาดใหญ่

Lorem Ipsum คำที่ปรากฏอัตโนมัติในโปรแกรมดีไซน์เมื่อคุณคลิกเตรียมพิมพ์อะไรสักอย่าง กลายมาเป็นชื่อ "พื้นที่ฉายหนังอิสระ" แห่งหาดใหญ่อันเป็นสถานที่ที่ Film Club อยากขอแนะนำให้คุณได้รู้จักเป็นแห่งแรกสำหรับสกู๊ปนี้

เซลีน เซียมมา เมื่อมีภาพยนตร์ เลสเบี้ยนก็ได้ดำรงอยู่

"หนังของฉันก็เหมือนกันทุกเรื่อง นั่นคือมันมักว่าด้วยเรื่องราวไม่กี่วันที่ตัวละครได้หลุดออกไปจากโลก ไปยังสถานที่ซึ่งได้พบคนรัก ได้รักและถูกรัก แน่นอนว่ามันเป็นเรื่องราวของตัวละครหญิงเสมอ เพราะมีเพียงแต่พื้นที่ส่วนตัวเช่นนี้เท่านั้นที่พวกเธอจะเป็นตัวของตัวเองได้ ได้แบ่งปันความเดียวดาย ความฝัน ความคิดและไอเดียต่างๆ ให้กันและกันฟัง"

เปโดร อัลโมโดวาร์ ศาสนา มารดา และประชาธิปไตย

เปโดร อัลโมโดวาร์ คือ คนทำหนังชาวสเปนผู้ถ่ายทอดเรื่องราวของมนุษย์ตัวเล็กตัวน้อย ความเป็นแม่และตัณหาชวนหน้ามืดไปจนถึงความซ่องแตกได้อย่างเปี่ยมเสน่ห์และบ้าพลัง นับตั้งแต่แจ้งเกิดด้วยฉาก 'ฉี่กรอกปาก' (!!), แม่ชีที่ฉีดเฮโรอีนเข้าเส้นเลือดตัวเองด้วยสีหน้าเปี่ยมสุขยิ่งกว่าได้เข้าเฝ้าพระผู้เป็นเจ้า, หญิงสาวที่ช่วยตัวเองด้วยการให้นักประดาน้ำของเล่นแหวกว่ายมายังจิ๋ม และเรื่อยมาจนถึงการสำรวจภาวะความเป็นแม่และเพศอันหลากหลาย

เหตุใดหนังจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังโด่งดังไปทั่วโลก

บทความชิ้นนี้มุ่งวิเคราะห์หาเหตุผลที่ทำให้วงการภาพยนตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการขับเคลื่อนที่น่าสนใจ จนมีความเป็นไปได้ว่า คลื่นลูกใหม่ของโลกภาพยนตร์ที่เรียกว่า คลื่นอุษาคเนย์ (SEA Wave) กำลังก่อตัวเพื่อสร้างความโดดเด่นในเวลาไม่ช้านี้

100 ปีชาตกาลของ มิโคลส แยงโซช์ ตราบเท่าที่ประชาชนยังคงทวงถาม

ปี 2021 นี้เป็นปีที่ครบรอบ 100 ปีชาตกาลของแยงโซช์ คนทำหนังผู้ได้ชื่อว่าเป็นหัวเรือสำคัญของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ในฮังการี และได้รับการยกย่องว่าเล่าเรื่องสงครามได้งดงามราวกับบทกวี ทว่าก็ชวนหัวใจสลาย

FILM CLUB FOCUS on BUSAN INTERNATIONAL FILM FESTIVAL

เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติปูซานจะเริ่มขึ้นในวันที่ 6-15 ตุลาคมนี้ โดยมีหนังทั้งสิ้นถึง 223 เรื่อง โดยฉายในโรงทั้งหมด แม้เราจะยังออกนอกประเทศไม่ได้ แต่ Film Club ก็ขออาสาแนะนำหนัง 12 เรื่องที่ควรดูในปูซาน แต่ถ้าไม่ได้ดู ก็รอดูได้ในที่อื่นๆ ทั้งออฟไลน์และออนไลน์ในไม่ช้านี้

Cinema of Czechoslovak New Wave : ไม่ตอกตรึงอัตลักษณ์ชาติ แต่สร้างขึ้นมาใหม่

ขอชวนทุกท่านรู้จักกับหนึ่งในขบวนหนังที่สำคัญที่สุดของโลกอย่าง Czechoslovak New Wave คนทำหนังชาวเชคใช้อารมณ์ขันขื่นพิสดารเพื่อต่อต้านเผด็จการและแสวงหาเสรีภาพกันอย่างไร

A Day Without Policemen: ใครเล่าจะควบคุมผู้คุมกฎ

Quis custodiet ipsos custodes? หรือ " Who will guard the guards themselves?” เป็นอีกหนึ่งวลีละตินที่มีไว้เพื่อถามกับตัวเองว่า เราสามารถเชื่อมั่นได้กระบวนการยุติธรรมได้หรือไม่ แล้วใครจะเป็นผู้ที่ดูแลเหล่าผู้คุมกฎไม่ให้เดินออกนอกเส้นทางเสียเอง