AUTHOR

ภาณุ อารี

ปัจจุบันทำงานอยู่ฝ่ายจัดซื้อภาพยนตร์ต่างประเทศบริษัทสหมงคลฟิล์มอินเตอร์ เนชั่นแนล นอกจากนี้ ยังเป็นนักทำหนังสารคดี เป็นอาจารย์พิเศษสอนวิชาธุรกิจภาพยนตร์และวิชาผลิตภาพยนตร์สารคดี และเป็นนักเขียนในบางวาระ

เมื่อ Gen Y และ Gen Z กลายเป็นผู้บริโภคหลักของโลก ผู้สร้างคอนเทนต์ควรปรับตัวอย่างไร

รายได้ของซีรีส์เกาหลี Squid Game จาก Netflix สูงถึง 900 ล้านเหรียญ ซึ่งกลุ่มผู้ชมกลุ่มใหญ่ของซีรีส์ชุดนี้ร้อยละ 58.65% มีอายุระหว่าง 18-34 ปี จัดอยู่ในกลุ่ม Gen Y และ Gen Z

เหตุใดหนังจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังโด่งดังไปทั่วโลก

บทความชิ้นนี้มุ่งวิเคราะห์หาเหตุผลที่ทำให้วงการภาพยนตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการขับเคลื่อนที่น่าสนใจ จนมีความเป็นไปได้ว่า คลื่นลูกใหม่ของโลกภาพยนตร์ที่เรียกว่า คลื่นอุษาคเนย์ (SEA Wave) กำลังก่อตัวเพื่อสร้างความโดดเด่นในเวลาไม่ช้านี้

รัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเขาสนับสนุนหนังกันยังไง (ตอน 3 : สิงคโปร์)

ตอนแรก : รัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเขาสนับสนุนหนังกันยังไง (ตอน 1 : ฟิลิปปินส์)ตอนที่สอง : รัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเขาสนับสนุนหนังกันยังไง (ตอน 2 : อินโดนีเซีย) (ภาพเปิด : ภาพจากหนัง A Land Imagined (2018)...

รัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเขาสนับสนุนหนังกันยังไง (ตอน 2 : อินโดนีเซีย)

แม้ว่าอินโดนีเซียจะมีประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ที่ยาวนาน แต่รัฐบาลแทบไม่มีบทบาทสนับสนุนอย่างจริงจัง จนปี 2009 “ภาพยนตร์” ได้ถูกบัญญัติลงในกฎหมายสูงสุดของประเทศ ว่า “ประชาคมสามารถมีส่วนร่วมในองค์กรเกี่ยวกับภาพยนตร์ได้”​

รัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเขาสนับสนุนหนังกันยังไง (ตอน 1 : ฟิลิปปินส์)

หากกล่าวถึงความโดดเด่นของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศต่างๆ ในช่วงระยะ 5 - 10 ปีที่ผ่านมา จะพบว่าประเทศที่อุตสาหกรรมภาพยนตร์มีความเคลื่อนไหวอย่างมีนัยสำคัญมากที่สุด เห็นจะได้แก่ ประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และสิงคโปร์

วิบากกรรมอุตสาหกรรมหนังฮ่องกงกับกฎหมายเซ็นเซอร์ใหม่

แม้ว่าจนถึงตอนนี้ยังไม่มีหนังฮ่องกงเรื่องใดถูกพิจารณาด้วยกฎเซ็นเซอร์ใหม่เนื่องจากเพิ่งถูกประกาศใช้สดๆ ร้อนๆ แต่หลายฝ่ายเชื่อว่าจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมหนังฮ่องกงอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น

MGM / AMAZON : ดีลสะท้านโลกกับผลกระทบที่อาจจะตามมา

สำหรับธุรกิจบันเทิงโลกในเวลานี้ คงไม่มีข่าวไหนที่สร้างความฮือฮาได้เท่ากับข่าว Amazon ซึ่งเป็นบริษัทอีคอมเมอร์ซที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีแพลตฟอร์มสตรีมมิ่งของตัวเองชื่อ Amazon Prime ได้บรรลุข้อตกลงซื้อสิทธิ์หนังทั้งหมดของบริษัท MGM หนึ่งในสตูดิโอขนาดใหญ่ของอเมริกาที่มีจำนวนมากกว่าสี่พันเรื่องด้วยจำนวนเงินทั้งหมด 8,450 ล้านเหรียญ

เหตุผลที่ปี 2021 อาจไม่ได้เป็นปีที่ดีอีกปีของ Netflix

กล่าวกันว่าปี 2020 เป็นปีที่ผู้ประกอบการสตรีมมิ่งยักษ์ใหญ่อย่าง Netflix ได้เริงร่ากับผลประกอบการทางธุรกิจที่ยอดเยี่ยมอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน โดยมีปัจจัยสำคัญมาจากวิกฤตโรคระบาดโควิด 19 ที่ส่งผลให้ผู้คนทั่วโลกต้องเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตอย่างฉับพลัน โดยเฉพาะการต้องล็อกดาวน์ตัวเองอยู่ในที่พัก ดังนั้นการเสพความบันเทิงผ่านช่องทางสตรีมมิ่ง จึงเป็นความสุขเพียงไม่กี่อย่างที่พวกเขาจะหาได้ในช่วงเวลานั้น โดยในปี 2020 ปีเดียว Netflix มีสมาชิกทั่วโลกเพิ่มขึ้นกว่า 37 ล้านคน ส่งผลให้ยอดรวมสมาชิกทั้งหมดรวมเป็น 203.6...

เหตุผลที่โรงหนังอาจเป็นหนทางของความอยู่รอดของธุรกิจสตรีมมิ่งในอนาคต

ท่ามกลางความคลุมเครือของการอยู่ยงของโรงหนัง และความสดใสของธุรกิจสตรีมมิ่งที่ดูเหมือนจะหาจุดสิ้นสุดไม่เจอ ผู้เขียนกลับเชื่อว่า ไม่ว่าจะอย่างไร โรงหนังจะยังคงอยู่ต่อไป และจะมีความสำคัญถึงขนาดเป็นหนทางความอยู่รอดของธุรกิจสตรีมมิ่งในอนาคตเสียด้วยซ้ำ

มองธุรกิจหนังในเมืองไทย ในวันที่วิกฤติยังไม่สะเด็ดน้ำ

ผู้เขียนเกิดความสนใจว่า ในช่วงเวลาเดียวกับที่ธุรกิจหนังในอเมริกากำลังเผชิญกับความท้าทายครั้งสำคัญ ผู้ประกอบการธุรกิจหนังในประเทศไทย น่าจะต้องเผชิญกับความท้าทายในปีที่คาดเดาไม่ได้อย่างปีนี้ ซึ่งหลังจากที่ได้ทำการวิเคราะห์ความเป็นไปของตลาดหนังในช่วงปีที่แล้วจนถึง ณ เวลานี้ ผู้เขียนขอนำเสนอฉากทัศน์ จำแนกตามประเภทขององค์ประกอบธุรกิจหนังในเมืองไทย

ทางออกของการดึงคนดูกลับเข้าโรงหนังในยุคเปลี่ยนผ่าน

แม้ว่าอุบัติการณ์ของโรคโควิด 19 จะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์ของทุกประเทศทั่วโลก โดยเฉพาะการปิดตัวของโรงหนังในหลายประเทศ ขณะที่ความนิยมในช่องทางสตรีมมิ่งเพิ่งขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรง จนทำให้หลายฝ่ายตั้งคำถามว่า หรือประวัติศาสตร์ภาพยนตร์กำลังพลิกโฉมครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตาม เมื่อวิกฤติเริ่มคลี่คลายในหลายประเทศในช่วงปลายเดือนมิถุนายน จนทำให้ผู้ประกอบการโรงหนังได้กลับมาเปิดโรงอีกครั้ง ภายใต้การจำกัดจำนวนที่นั่งตามนโยบายเว้นระยะห่างทางสังคม (social distancing) ปรากฏว่าได้รับการตอบรับที่ดีอย่างล้นหลามจากผู้ชม เริ่มตั้งแต่ประเทศเกาหลีใต้ที่ประเดิมฉายหนังแนวซอมบี้แอ็คชั่นเรื่อง Alive ในปลายเดือนมิถุนายน ซึ่งขายบัตรเข้าชมในวันแรกสูงถึงสองแสนใบ ก่อนที่จะถูกลบสถิติลงด้วยหนังเรื่อง Train to...

เมื่อการจัดจำหน่ายแบบลูกผสม (hybrid distribution) กำลังจะกลายเป็นความปกติใหม่สำหรับธุรกิจหนังหลังวิกฤตโควิด

อย่างที่รู้กันว่าท่ามกลางวิกฤตของโรคร้ายที่คุกคามอุตสาหกรรมภาพยนตร์ทั่วโลก จนทำให้เกิดคำถามว่าธุรกิจภาพยนตร์กำลังเข้าสู่ภาวะการเปลี่ยนแปลงครั้งประวัติศาสตร์หรือไม่ ได้มีความพยายามของสองค่ายสตูดิโอยักษ์ใหญ่ของฮอลลีวูดซึ่งในแก่ค่ายวอร์เนอร์ และ ค่ายดิสนีย์ที่จะท้าทายสภาวะดังกล่าวด้วยการเข็นหนังที่ถือเป็นความหวังของค่ายเข้าฉายในช่วงเวลาที่ค่ายยักษ์ใหญ่อื่นๆ เลือกที่จะเลื่อนหนังฟอร์มยักษ์ออกไป โดยค่ายวอร์เนอร์เลือกที่จะนำ Tenet หนังทุน 200 ล้านของผู้กำกับคริสโตเฟอร์ โนแลน เข้าฉายในรูปแบบปกติในโรงภาพยนตร์ ในต้นเดือนกันยายน ขณะที่ ค่ายดิสนีย์ เลือกเปิดตัว Mulan ในเวลาไล่เลี่ยกันบนแพลตฟอร์มสตรีมมิ่งของตัวเองที่ชื่อ...

ทิศทางหนังโลกหลังจาก MULAN และ TENET ออกฉาย

หลังจากตลอดครึ่งปีแรกของปี 2020 โลกภาพยนตร์ต้องประสบกับภาวะซบเซาไร้ความหวังจากวิกฤตโควิด 19 ที่ดูเหมือนจะหาจุดสิ้นสุดไม่เจอ ข่าวการเลื่อนฉายของหนังฟอร์มใหญ่ฮอลลีวูดหลายต่อหลายเรื่องที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้หลายคนเริ่มทำใจแล้วว่าบางทีปีนี้ อาจเป็นปีที่เงียบเหงาของธุรกิจภาพยนตร์โลกในรอบหลายทศวรรษเนื่องจากไม่มีหนังฟอร์มใหญ่เข้าฉายตลอดทั้งปี  แต่แล้วในช่วงปลายเดือนกรกฎาคมต่อด้วยต้นสิงหาคมที่ผ่านมา ก็ได้เกิดข่าวที่พอจะสร้างแสงสว่างให้แก่วงการภาพยนตร์โลกได้บ้าง เมื่องสองค่ายหนังยักษ์ใหญ่อย่าง วอร์เนอร์ และ ดิสนิย์ ได้ประกาศวันฉายหนังที่ถือเป็นความหวังของค่ายในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกัน โดยวอร์เนอร์ได้ประกาศวันฉาย Tenet หนังต้นทุน 200 ล้านเหรียญ...

มองภาษาหนังร่วมสมัย ผ่านแนวคิดภาษาศาสตร์เชิงโครงสร้าง

เมื่อพูดถึงหนัง 4 เรื่อง 4 สัญชาติ ได้แก่ ฉลาดเกมส์โกง (ไทย) Parasite (เกาหลี) Joker (อเมริกัน) และ Better Days (จีน) สิ่งที่เหมือนกันอย่างน่าสนใจคือ ต่างเป็นหนังที่ประสบความสำเร็จทั้งด้านรายได้และเสียงวิจารณ์ในประเทศตัวเอง ขณะเดียวกันก็ได้รับการตอบรับจากผู้ชมต่างชาติด้วย...

จับตาดูอุตสาหกรรมหนังอเมริกัน เมื่อบริษัทผลิตหนังเป็นเจ้าของโรงหนังได้!

เมื่อกล่าวถึงจุดเด่นสำคัญของอุตสาหกรรมภาพยนตร์อเมริกา หนึ่งในข้อที่ถือเป็นเอกลักษณ์สำคัญ คือการแบ่งแยกอย่างอิสระระหว่าง ภาคการผลิต และจัดจำหน่าย (production & distribution) กับภาคการเผยแพร่ (exhibition) กล่าวให้ชัดก็คือ ภายใต้กฎหมายป้องกันการผูกขาด (antitrust law) บริษัทผลิตและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ในอเมริกา ไม่สามารถเป็นเจ้าของโรงภาพยนตร์ได้ เนื่องจากถือเป็นการผูกขาดธุรกิจอย่างไม่เป็นธรรม และปิดโอกาสไม่ให้เกิดการแข่งขันขึ้นในภาคอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงสำคัญได้เกิดขึ้นแล้ว...