Review

MIDNIGHT CINEMA 06 : Malignant รักของทารกวิกลรูป

เราเริ่มต้นกันตรงนี้ ด้วยพล็อตเรื่องที่แสนคุ้นเคย หญิงสาวเผชิญหน้ากับ ผีร้าย/ฆาตกรโรคจิต/ปีศาจโดยลำพัง สังคมชายเป็นใหญ่เชื่อว่าเธอหลอนไปเอง ขณะที่เธอต้องดิ้นรนต่อสู้เพื่อเอาชีวิตรอดจนกว่าความจริงจะเปิดเผย

Sex Education Season 3 : ใช้ชีวิตแบบที่ได้มีรัก และได้มี SEX อย่างไม่มีอะไรต้องเสียใจ

เรื่องราวของ Sex Education ภาคใหม่นี้ อีรุงตุงนังยิ่งกว่าเสาไฟฟ้าไทยแลนด์อีกค่ะ ทุกคนคือความสัมพันธ์โยงกันไปกันมา แบบซ่องแตกป่วงไม่ไหว มีซีนหมด ไม่มีใครไม่ได้ซีน ไม่มีใครถูกลืม ไม่มีใครมีซีนที่แย่ ทุกซีนคือปัง แม้ว่าจะเป็นซีนบ้งๆ แต่ก็เป็นความบ้งที่ปัง!!! กราบใจคนเขียนบท คนกำกับ เธอมันแน่ แน่จริงๆ

Good Boys: วัยอลวนคนอยากแมน

Good Boys เล่าเรื่องราวของเด็กอายุ 12 สามคนที่เป็นเพื่อนสนิทกัน คือ แม็กซ์ ลูคัส และธอร์ แห่งแก๊ง Bean Bag Boys

ประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยม ยาหลอนประสาทของมณีจันทร์ ในหนังทวิภพ

เนื่องในวาระอำลา ทมยันตี ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ จะชวนผู้อ่านกลับไปวิเคราะห์ ทวิภพ ฉบับภาพยนตร์ ที่สร้างจากนิยายขึ้นชื่อของทมยันตี ผ่านแว่นตาของนักประวัติศาสตร์อีกครั้ง

Bo Burnham: Inside ความเบื่อหน่ายคืออาชญากรรม

เมื่อพิจารณาจากจำนวนและรูปแบบที่เปลี่ยนไปของโชว์ตลกสแตนด์อัพในปี 2020 แล้ว เราอาจพูดได้ว่าช่วงกลางปีที่แล้วจนถึงต้นปีนี้เป็นช่วงวัดใจครั้งยิ่งใหญ่ของเหล่านักแสดงตลกในสหรัฐอเมริกา หลายคนเลือกที่จะใช้โอกาสนี้หยุดพักการแสดงเพื่อพัฒนาบท หลายคนสร้างพื้นที่ใหม่ขึ้นมาเพื่อป้อนเนื้อหาใหม่ๆ เข้ามาในกระแส ขณะเดียวกัน นักแสดงตลกอีกไม่น้อยเลือกจะใช้โอกาสนี้เพื่อทดลองที่ทางและวิธีใหม่ๆ ในการจัดโชว์

จาก Junior ถึง Raw : ลอกคราบ ชิมเลือด แล่เนื้อ Julia Ducournau

ในบทความนี้จะกล่าวถึงผลงานกำกับแบบเต็มตัวทั้งสองเรื่อง (ก่อน Titane) ของ Julia Ducournau ซึ่งแสดงตัวตนในแนวทาง body horror อย่างเข้มข้นชัดเจน คือหนังสั้นเรื่อง Junior (2011) ที่แจ้งเกิดในสาย Critics’ Week เมืองคานส์และ Raw (2016) หนังมนุษย์กินคนที่สถาปนาตำแหน่งคนทำหนังดาวรุ่งระดับโลกให้เธอ

The Chair – คอลเอาท์ให้หัวหด อย่าแหกกฎแม้เป็นอาจารย์

ขึ้นชื่อว่าซีรีส์สายอาชีพ หลายคนคงคาดหวังว่าจะได้ดำดิ่งไปในโลกของอาชีพที่หวือหวา ไม่ว่าจะเป็นโลกของหมอ ตำรวจ หรือนักสืบ ซึ่งอาชีพเหล่านี้มีลักษณะเด่นที่ทำให้วางพล็อตได้ง่าย แต่ใครจะไปคิดว่าอีกอาชีพหนึ่งที่น่าสนใจไม่แพ้กัน และเป็นอาชีพใกล้ตัวหลายๆ คน คืออาชีพอาจารย์มหาวิทยาลัย

Godzilla: King of the Monsters – สมดุลโลกในมือสัตว์ร้าย

ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา หนังแนวภัยพิบัติจำนวนมากเน้นประเด็นเรื่อง “ธรรมชาติที่คืนสู่สมดุลหลังภัยพิบัติ” ในจำนวนหนังที่ว่านี้ Godzilla: King of the Monsters ก็เป็นหนึ่งในนั้น โดยหนังได้พยายามให้ความชอบธรรมแก่การมีอยู่ของสัตว์ประหลาดยักษ์หลายตัวทั่วโลก ในฐานะ “ผู้คืนความสมดุลสู่โลกธรรมชาติ” และสร้างภาพว่ามนุษย์เป็นต้นเหตุของการล่มสลายของธรรมชาติ จากความพยายามที่จะตั้งต้นเป็น “พระเจ้า” ที่ควบคุมทุกอย่างเสียเอง

แฟนฉัน : เมื่อลูกหลานชนชั้นกลาง ไม่สามารถกลับไปมีชีวิตที่ดีในบ้านเกิดต่างจังหวัดได้

ก่อนจะคิดกับมันจริงจัง ผมเคยคิดว่าเรื่องนี้มันคือ ส่วนผสมระหว่างชีวิตอันน่าถวิลหาของคนยุคมานีมานะแต่เป็นเวอร์ชั่นชาวตลาด โดยใช้คาแรกเตอร์ของตัวละครในการ์ตูนโดราเอมอน (เพราะถ้าเอามานี มานะ วีระ ปิติ ชูใจมาเล่นคงน่าเบื่อพอควร) ที่สามารถดันให้เรื่องมันสนุกโดยไม่ต้องมี reference อะไร

เอหิปัสสิโก (Come and See) : จาก “ขบถ” สู่ “ผีบุญธรรมกาย” องคาพยพที่สะเทือนความมั่นคงของรัฐอันนำไปสู่ “สังฆประหาร”

สารคดีเรื่องนี้ฉายภาพอาณาจักรของธรรมกายในอีกรูปแบบหนึ่ง เสียงดนตรีประกอบที่ทุ้มแน่นราวกับการสำแดงสถาปัตยกรรมแห่งจักรวรรดิในหนังสตาร์วอร์ส และไม่มีน้ำเสียงล้อเลียนแบบที่สื่อจำนวนมากทั้งตามขนบและโซเชียลพยายามใช้กัน