AUTHOR

ภาณุ อารี

ปัจจุบันทำงานอยู่ฝ่ายจัดซื้อภาพยนตร์ต่างประเทศบริษัทสหมงคลฟิล์มอินเตอร์ เนชั่นแนล นอกจากนี้ ยังเป็นนักทำหนังสารคดี เป็นอาจารย์พิเศษสอนวิชาธุรกิจภาพยนตร์และวิชาผลิตภาพยนตร์สารคดี และเป็นนักเขียนในบางวาระ

เจาะแผนสนับสนุนวงการหนังท็อปโฟร์ของโลก (ตอน 5 : รัฐบาลไทยควรเดินทางไหน)

หลังความสำเร็จของหนังเกาหลี กระแสเรียกร้องให้ไทยเดินตามโมเดลการสนับสนุนหนังของเกาหลีก็ดังขึ้นอีกครั้ง แต่ก่อนถึงจุดนั้น ภาณุ อารีชวนคิดว่า อะไรแน่คือองค์ประกอบหลักที่จะทำให้โครงสร้างการสนับสนุนหนังไทยเป็นไปอย่างยั่งยืนจริงๆ?

เจาะแผนสนับสนุนวงการหนังท็อปโฟร์ของโลก (ตอน 4 : เยอรมนี)

ในประเทศที่อุตสาหกรรมหนังแข็งแรงมั่นคง รัฐบาลจะผ่อนการควบคุมและหันมาวางโครงสร้างการส่งเสริมที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพแทน ...ภาณุ อารี สรุปนโยบายหนัง 4 ประเทศสุดแข็งแกร่ง ตอน 4 ว่าด้วย "เยอรมนี"

เจาะแผนสนับสนุนวงการหนังท็อปโฟร์ของโลก (ตอน 3 : สหราชอาณาจักร)

ในประเทศที่อุตสาหกรรมหนังแข็งแรงมั่นคง รัฐบาลจะผ่อนการควบคุมและหันมาวางโครงสร้างการส่งเสริมที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพแทน ...ภาณุ อารี สรุปนโยบายหนัง 4 ประเทศสุดแข็งแกร่ง ตอน 3 ว่าด้วย "สหราชอาณาจักร"

เจาะแผนสนับสนุนวงการหนังท็อปโฟร์ของโลก (ตอน 2 : ฝรั่งเศส)

ในประเทศที่อุตสาหกรรมหนังแข็งแรงมั่นคง รัฐบาลจะผ่อนการควบคุมและหันมาวางโครงสร้างการส่งเสริมที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพแทน ...ภาณุ อารี สรุปนโยบายหนัง 4 ประเทศสุดแข็งแกร่ง ตอน 2 ว่าด้วย "ฝรั่งเศส"

ดีลลับลวงพรางของค่ายหนัง Universal และโรงหนัง AMC ที่จะสั่นสะเทือนอุตสาหกรรมหนังโลก

เมื่อโรงหนังใหญ่กับค่ายหนังยักษ์ในอเมริกาประกาศทำดีลลับลวงพรางกัน ความกังวลก็บังเกิด เพราะนี่อาจนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทั้งต่อวงการหนังและเราคนดู!

เจาะแผนสนับสนุนวงการหนังท็อปโฟร์ของโลก (ตอน 1 : เกาหลีใต้)

ในประเทศที่อุตสาหกรรมหนังแข็งแรงมั่นคง รัฐบาลจะผ่อนการควบคุมและหันมาวางโครงสร้างการส่งเสริมที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพแทน ...ภาณุ อารี สรุปนโยบายหนัง 4 ประเทศสุดแข็งแกร่ง เริ่มต้นด้วย "เกาหลีใต้"

อุตสาหกรรมหนังฮ่องกงกับจุดเปลี่ยนที่ท้าทาย หลังจากกฎหมายความมั่นคงมีผลบังคับใช้

เมื่อรัฐบาลจีนประกาศใช้ "กฎหมายความมั่นคง" อุตสาหกรรมหนังฮ่องกงที่เคยยิ่งใหญ่จะต้องพบกับจุดเปลี่ยนเช่นไร? ภาณุ อารี พาไปพูดคุยกับคนในวงการหนังเพื่อหาคำตอบ

Business Update : ควันหลง Cannes Virtual Market

แล้วตลาดหนังเสมือนของคานส์ หรือ Cannes Virtual Film Market ก็รูดม่านปิดฉากลงอย่างเงียบๆ เมื่อปลายอาทิตย์ของเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา พร้อมกับประสบการณ์ที่หลากหลายของผู้ซื้อและผู้ขาย อย่างไรก็ตามผู้จัดตลาดหนังเมืองคานส์ (Marche du Film) ก็ยืนยันว่างานประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี โดยตลอดระยะเวลาหนึ่งอาทิตย์ของการจัดงาน (งานเริ่มวันที่ 22 และจบลงวันที่ 28...

สัมพันธ์จีน – อินเดียในมิติธุรกิจภาพยนตร์

เช้าของวันที่ 16 มิถุนายนที่ผ่านมา สำนักข่าวทั่วโลกต่างรายงานข่าวการปะทะแบบไร้อาวุธของทหารจีนและอินเดีย ที่พรมแดนบริเวณเทือกเขาหิมาลัย ผลจากการปะทะกันทำให้ทหารอินเดียเสียชีวิต 3 คน ก่อนที่ต่อมาจำนวนยอดผู้เสียชีวิตจะเพิ่มขึ้นเป็น 20 คน ส่วนทหารจีน แม้ว่าจะไม่มีรายงานออกอย่างเป็นทางการ แต่ก็มีรายงานที่ไม่ได้การยืนยันว่า ทหารจีนเสียชีวิตประมาณ 40 คน ข่าวดังกล่าวสร้างความตกตะลึงไปทั่วโลก เพราะแม้ว่าจีนและอินเดีย...

Business Update : โรงหนังเมกาเตรียมเปิด & สองสตรีมมิ่งจีนยักษ์ใหญ่อาจควบรวมกัน?

ขณะที่หลายภาคส่วนต่างๆ ของธุรกิจหลายประเภท กำลังเริ่มต้นเดินเครื่องธุรกิจใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องว่างเว้นไปเพราะดำเนินตามนโยบายป้องกันโรคโควิด 19 ธุรกิจภาพยนตร์ดูเหมือนกำลังเข้าสู่โหมดปรับตัวครั้งใหญ่ ด้วยคุณลักษณะของธุรกิจที่ต้องเกี่ยวกับคนจำนวนมาก ไม่ว่าในด้านการผลิตที่ต้องอาศัยบุคลากรจำนวนมากในการสร้างภาพยนตร์สักเรื่อง หรือ การเผยแพร่ซึ่งแน่นอนว่า หลีกเลี่ยงฝูงชนจำนวนมากไม่พ้น จึงทำให้ ธุรกิจภาพยนตร์อาจมีความเปราะบางเมื่อเทียบกับธุรกิจหลายๆ ประเภท เพราะหากเกิดการระบาดรอบสอง และต้นตอของการระบาดมาจากธุรกิจภาพยนตร์ภาคใดภาคหนึ่ง ผลที่เกิดขึ้นตามเห็นจะหนีไม่พ้นหายนะครั้งใหญ่ของโลกภาพยนตร์อย่างแน่นอน สำหรับความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจในวงการธุรกิจภาพยนตร์โลกช่วงเวลานี้มีดังนี้ โรงหนังเครือใหญ่ในอเมริกา เตรียมเปิดให้บริการอีกครั้ง หลังจากที่ต้องปิดตัวลงเป็นเวลาเกือบสี่เดือน...

เหตุใดคนขาวจึงมีบทบาทเด่นในด้านการบริหารภาพยนตร์

สิ่งที่เหมือนกันระหว่างภาพยนตร์เรื่อง Moonlight, Get Out, 12 Years a Slave หรือแม้แต่ Black Panther คือต่างเป็นหนังเกี่ยวกับคนผิวดำ นำแสดงและสร้างสรรค์โดยคนผิวดำที่ประสบความสำเร็จทั้งในด้านรางวัล และบ็อกซ์ออฟฟิศ อย่างไรก็ดี สิ่งที่เหมือนกันอย่างน่าสนใจอีกประการหนึ่งก็คือ ผู้ที่อยู่เบื้องหลังในส่วนการบริหารจัดการส่วนใหญ่ ล้วนแต่เป็นคนผิวขาวทั้งสิ้น โดยในตำแหน่งผู้อำนวยการสร้างของภาพยนตร์เรื่อง...

เหตุใดยักษ์ใหญ่สตรีมมิ่งยังไม่สามารถเจาะตลาดจีนได้

แม้ว่าปัจจุบัน ประเทศจีนจะกลายเป็นตลาดสำคัญสำหรับภาพยนตร์ของฮอลลีวูด จนเรียกได้ว่าเป็นแหล่งทำเงินนอกบ้านของเหล่าบริษัทสตูดิโอต่างๆ แต่สำหรับผู้ประกอบการสตรีมมิ่งยักษ์ใหญ่อย่าง Netflix หรือ Amazon Prime จีนเป็นตลาดเดียวในโลก (ไม่นับ ซีเรีย เกาหลีเหนือ อิหร่าน) ที่พวกเขายังไม่สามารถเจาะได้ ปัจจุบัน Netflix มีจำนวนสมาชิกทั่วโลกกว่า 182 ล้านคน ขณะที่...

Business Update : เทศกาลหนังแบบไดรฟ์อิน & เกาหลีช่วยค่าตั๋วหนัง

สัปดาห์ที่ผ่านมาเครื่องจักรทางด้านธุรกิจภาพยนตร์ในหลายประเทศ เริ่มกลับมาเดินเครื่องอีกครั้ง ทั้งในภาคผลิต จัดจำหน่ายและเผยแพร่ แม้ว่าในระยะแรกอาจเกิดอาการติดขัดอยู่บ้างอันเนื่องมาจากมาตรการเฝ้าระวังของทุกภาคส่วน แต่อย่างน้อย ก็เป็นสัญญาณที่ดีว่า วงล้อของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ก็ยังคงหมุนต่อไป สำหรับสัปดาห์นี้ มีรายงานความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจของธุรกิจภาพยนตร์ดังต่อไปนี้ Drive In อีกหนึ่งทางเลือกของเทศกาลภาพยนตร์ หลังจากโรคโควิด 19 ทำให้กิจกรรมที่คุ้นเคยอย่างการชมภาพยนตร์ในโรงต้องหยุดไป แต่ก็ได้ทำให้ธุรกิจที่เคยเสื่อมความนิยมอย่าง โรงหนังไดรฟ์อิน กลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้ง ล่าสุดได้มีการสำรวจจำนวนโรงหนังไดรฟ์อินทั่วอเมริกา ปรากฏว่ามีผู้ประกอบการรวมกันถึง...

เมื่อการเมืองถูกลากเข้าสู่วงการหนัง เรื่องวุ่นๆ ที่กระทบความสัมพันธ์ระหว่างฮอลลีวูดกับประเทศจีนก็เกิดขึ้น

ข่าวคราวที่สร้างความฮือฮาให้กับวงการธุรกิจภาพยนตร์ในช่วงเวลานี้ คงไม่มีข่าวไหนเกินรายงานที่ว่า เท็ด ครูซ วุฒิสมาชิกของพรรครีพับลิกัน ได้ออกมาประกาศเมื่อเดือนที่แล้วว่า จะเร่งผลักดันกฎหมายที่ห้ามไม่ให้ภาพยนตร์อเมริกันที่ได้รับการสนับสนุนจากทางกระทรวงกลาโหม (ซึ่งส่วนใหญ่เป็นหนังสงครามที่ต้องใช้อุปกรณ์ของกองทัพเข้าฉาก รวมถึงทุนสร้างบางส่วน) ได้เข้าฉายในจีนหากต้องถูกเซ็นเซอร์จากทางการจีน ล่าสุดเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคมที่ผ่านมา ครูซได้ขยายขอบเขตการสนับสนุนจากแค่กระทรวงกลาโหมไปเป็นทุกกระทรวงของรัฐบาลอเมริกัน มูลเหตุของความยั้วะของครูซ (ซึ่งไม่มีความเกี่ยวพันกับ ทอม ครูส) เกิดจากการที่เขาพบว่าหนังเรื่อง Top Gun:...

Business Update : เกาหลีเปิดโรง, อินเดียเปิดกอง และก้าวต่อไปของ Tik Tok

ท่ามกลางบรรยากาศที่คลี่คลายของภาวะโรคโควิด ธุรกิจภาพยนตร์ก็ยังคงเคลื่อนไหวอย่างไม่หยุดนิ่ง แม้ว่าบางภาคส่วนจะต้องปรับตัวเข้ากับมาตรฐานในการดำเนินชีวิตใหม่ก็ตาม เรามาติดตามความเคลื่อนไหวในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมากัน Post Covid screening : สัญญาณบวกที่ยังไม่เกิดขึ้น แม้ว่าหลายประเทศจะยังคงปิดโรงหนังอยู่ แต่ก็มีบางประเทศที่เริ่มต้นฉายหนังมาระยะหนึ่งแล้ว เช่น ประเทศเกาหลีใต้ที่บริษัทจัดจำหน่ายหลายแห่งนำหนังทั้งเก่าและใหม่มาฉายเพื่อกระตุ้นให้ผู้ชมกลับมาโรงอีกครั้ง ก่อนที่จะปูพรมฉายหนังใหญ่ในช่วงซัมเมอร์ แต่ดูเหมือนผลตอบรับยังไม่ดีเท่าที่ควร เพราะสัปดาห์ที่ผ่านมา รายได้ของหนังที่เปิดตัวนั้นทำได้เพียง 7% ของรายได้ในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว โดยหนังที่ทำรายได้เป็นอันดับหนึ่งก็คือ The...