Special Article

รัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเขาสนับสนุนหนังกันยังไง (ตอน 3 : สิงคโปร์)

ตอนแรก : รัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเขาสนับสนุนหนังกันยังไง (ตอน 1 : ฟิลิปปินส์)ตอนที่สอง : รัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเขาสนับสนุนหนังกันยังไง (ตอน 2 : อินโดนีเซีย) (ภาพเปิด : ภาพจากหนัง A Land Imagined (2018)...

รัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเขาสนับสนุนหนังกันยังไง (ตอน 2 : อินโดนีเซีย)

แม้ว่าอินโดนีเซียจะมีประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ที่ยาวนาน แต่รัฐบาลแทบไม่มีบทบาทสนับสนุนอย่างจริงจัง จนปี 2009 “ภาพยนตร์” ได้ถูกบัญญัติลงในกฎหมายสูงสุดของประเทศ ว่า “ประชาคมสามารถมีส่วนร่วมในองค์กรเกี่ยวกับภาพยนตร์ได้”​

รัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเขาสนับสนุนหนังกันยังไง (ตอน 1 : ฟิลิปปินส์)

หากกล่าวถึงความโดดเด่นของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศต่างๆ ในช่วงระยะ 5 - 10 ปีที่ผ่านมา จะพบว่าประเทศที่อุตสาหกรรมภาพยนตร์มีความเคลื่อนไหวอย่างมีนัยสำคัญมากที่สุด เห็นจะได้แก่ ประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และสิงคโปร์

อดีต ปัจจุบัน อนาคต ชะตากรรมของคนทำหนังอัฟกานิสถาน

เมื่อวันที่ 13 ส.ค. 2021 ซาฮ์รา คาริมิ ประธานสมาพันธ์ภาพยนตร์อัฟกัน ได้ทวิตข้อความเผยแพร่จดหมายเปิดผนึกเพื่อขอความช่วยเหลือจากคนทำหนังทั้งโลก เนื่องจาก ผู้หญิง เด็ก คนทำหนัง และศิลปินชาวอัฟกัน ต่างเผชิญความไม่ปลอดภัยจากตอลีบานมาเป็นเวลานาน มีผู้คนถูกเข่นฆ่าจากสงครามภายในประเทศหลายราย พร้อมขอร้องทั้งโลกว่าอย่าเงียบงันเหมือนทุกครั้งที่ผ่านมา

Transnational Cinema: ชาติสร้างคน ภาพยนตร์ข้ามชาติ

Film Club จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดของ Transnational Cinema หรือภาพยนตร์ข้ามชาติแบบคร่าวๆ พร้อมขอเสนอรูปแบบต่างๆ ของภาพยนตร์ข้ามชาติ 10 เรื่อง ที่ทำให้เราสามารถศึกษาความเปลี่ยนแปลงของโลกภายนอก พร้อมกับความเปลี่ยนแปลงในโลกภาพยนตร์ ทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลัง

ที่ใดมี ทิลดา สวินตัน ที่นั่นย่อมมีศิลปะ

ตั้งแต่แม่มดขาวในนาร์เนีย เทพเกเบรียลในคอนสแตนติน เอเชียนวันในดอกเตอร์สเตรนจ์ จนถึงเจสสิกาในเมโมเรีย เราอยากชักชวนรู้จัก ทิลดา สวินตัน เพิ่มขึ้นผ่านบทความชิ้นนี้

Nobody speaks the lover. (Culture is the rule, and lover is the exception.) หลอกกันทำไม ไอ้คนไม่มีหัวใจ (เป็นคนรักใครก็หวงก็ห่วงจริงไหม)

Film Club ขอเสนอ 10 เรื่องที่ขยายปัญหาที่แตกต่างกันออกไปของการนอกใจว่ามันอาจไม่ใช่เพียงแค่เรื่องความต้องการทางเพศ แต่หากยังมีบางสิ่งซ่อนเร้นอยู่ภายใต้การกระทำของความหลงใหลและอำนาจ เราอาจมองมันได้ว่าเป็นสิ่งที่ดีหรือไม่ดี ควรทำหรือไม่ควรทำ หรือเป็นเพียงแค่ภาพจำลองของเหตุการณ์หนึ่งเพียงเท่านั้น

A World Not Our Own : โลกไม่ใช่ของเรา 10 ภาพยนตร์เพื่อทำความเข้าใจความขัดแย้งระหว่างอิสราเอล – ปาเลสไตน์

นี่คือ 10 ภาพยนตร์ที่จะฉายภาพของคนที่ตกอยู่ท่ามกลางสงครามระหว่างเขตแดนทั้งสองประเทศ เราจะได้พบเห็นเรื่องราวที่คนภายนอกไม่ได้รับรู้ และพบเห็นในสิ่งที่ไม่เคยได้เห็น เสียงของพวกเขาถูกได้ยินขึ้นมาแล้ว ขึ้นอยู่กับว่าคนที่ได้ยินจะทำอย่างไรกับสิ่งที่พวกเขาสื่อสารต่อไป

Get Me Away from Here, I’m Dying : หนีไปเสียจากที่นี่

Film Club ขอเสนอหนังทั้ง 11 เรื่องที่เล่าชีวิตของคนที่หนีออกไปจากที่นี่ ด้วยต่างวาระ ต่างจุดประสงค์ หนทางที่พวกเขาเลือกเดินอาจไม่ได้สุขสมหวังอย่างที่หวังไว้ อนาคตอาจจะดีกว่าหรือแย่กว่านี้ ไม่มีใครสามารถตัดสินได้ แต่ก็ยังจะดีกว่าการตายอย่างเดียวดายในรัฐที่ทอดทิ้งพวกเขา หรือต่อต้านความคิดของพวกเขาเองที่ต้องการจะทำให้ที่นี่เป็นที่ที่พวกเขาสามารถอยู่ไปได้ตลอดชีวิต

Music Is My Weapon : ดนตรีคืออาวุธ

ภาพยนตร์ทั้ง 10 เรื่องที่แนะนำขึ้นมานี้แสดงให้เห็นว่าดนตรีนั้นยังคงเป็นอาวุธที่ทรงพลังที่คอยส่งเสียงให้กับผู้ที่ได้พบเห็นว่าพวกเขายังอยู่ และการต่อสู้เหล่ามันเคยเกิดขึ้นอยู่ที่ฟากฝั่งของโลก หรือมันยังคงเกิดขึ้นอยู่ไม่จบสิ้น

เท็จที่จริง ว่าด้วยปัญหาของความจริงในภาพเคลื่อนไหวของศิลปิน

ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา e-flux ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มการตีพิมพ์ การเก็บรวบรวมโปรเจกต์ทางศิลปะ รวมถึงเป็นแพลตฟอร์มของการคัดสรรงานศิลปะ และเป็นนิตยสารศิลปะที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1998 ได้จัดฉายภาพยนตร์ออนไลน์เป็นซีรีส์ 5 ชุดในหัวข้อ ‘เท็จที่จริง : ปัญหาของความจริงในภาพยนตร์ของศิลปิน’ (True Fake: Troubling the Real in Artists’ Films)

สรุปเสวนาคลับเฮาส์ ‘การเมืองในหนังไทย’ : สถานะของภาพยนตร์ในการเมืองร่วมสมัย

หลังจากวงเสวนาคลับเฮาส์ในหัวข้อ “หนังไทย (Once Upon a Time – Thai Cinema) : ปรากฏการณ์ T Wave ในทศวรรษที่ 2000” ว่าด้วยหรือปรากฏการณ์ความสำเร็จของภาพยนตร์ไทยในพุทธศักราช 2540 ได้รับความสนใจอย่างมากจากคนรักหนังและคนทำหนังในไทย เมื่อวันศุกร์ที่...

สรุปบทความจากเสวนาคลับเฮาส์ : ปรากฏการณ์ Thai Wave Cinema ในทศวรรษ 2540 (ตอนที่ 2)

(ตอนที่ 2) เมื่อวันศุกร์ที่ 5 มีนาคม 2564 ที่ผ่านมา ภาณุ อารี ผู้อำนวยการฝ่ายจัดซื้อภาพยนตร์ต่างประเทศ ได้จัดคลับเฮาส์พูดคุยในหัวข้อ “หนังไทย (Once Upon a Time - Thai Cinema) : ปรากฏการณ์ T Wave ในทศวรรษที่ 2000” ว่าด้วยหรือปรากฏการณ์ความสำเร็จของภาพยนตร์ไทยในพุทธศักราช 2540

สรุปบทความจากเสวนาคลับเฮาส์ : ปรากฏการณ์ Thai Wave Cinema ในทศวรรษ 2540 (ตอนที่ 1)

เมื่อวันศุกร์ที่ 5 มีนาคม 2564 ที่ผ่านมา ภาณุ อารี ผู้อำนวยการฝ่ายจัดซื้อภาพยนตร์ต่างประเทศ ได้จัดคลับเฮาส์พูดคุยในหัวข้อ “หนังไทย (Once Upon a Time - Thai Cinema) : ปรากฏการณ์ T Wave ในทศวรรษที่ 2000” ว่าด้วยหรือปรากฏการณ์ความสำเร็จของภาพยนตร์ไทยในพุทธศักราช 2540

ศิลปะไม่เป็นเจ้านายใครและขี้ข้าใคร : 12 ภาพยนตร์ที่แสดงออกถึงเสรีภาพของศิลปะ

แน่นอนว่าภาพยนตร์คือหนึ่งในศาสตร์ของศิลปะ แต่หนทางของการเป็นอิสระนั้นไม่เคยง่าย พวกเขาล้วนต่างต้องหาทางภายใต้สังคมเจ้าแห่งการตีกรอบ นี่คือ 12 ภาพยนตร์ที่แสดงแสงแห่งการดิ้นรนเพื่อให้ได้มาซึ่งการบรรลุเป้าหมายแห่งศิลปะ การตั้งคำถาม ดิ้นรน และต่อต้านถือเป็นอีกหนึ่งหัวใจของการสร้างศิลปะ และถ้าหากประเทศนี้ขาดศิลปะ สีสันของที่นี่คงถูกย้อมจนเหลือมีเพียงแค่สีเดียว

Coreหนัง 11: Parallel – “หนังส่วนตัว” และ “การอุ้มหาย”

เมื่อวันเสาร์อาทิตย์ที่ 20 -21 มี.ค. ที่ผ่านมา มีกิจกรรมฉายภาพยนตร์ธีซิสของนักศึกษาภาพยนตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือที่รู้จักกันในชื่องาน 'Coreหนัง' ซึ่งครั้งนี้จัดมาเป็นครั้งที่ 11 และใช้ชื่อธีมว่า Parallel

Agnes V. & J. Demy. : ความรักของ Agnes Varda

ร่วมสำรวจความสัมพันธ์ของสองสามีภรรยาคนทำหนังที่แสนสำคัญของฝรั่งเศส ลอบมองชีวิตคู่ที่อยู่ด้วยกันจนวันตายของ Agnès Varda และ Jacques Demy ในบทความชิ้นนี้กัน

เข้าป่าหาขุมทรัพย์ภาพยนตร์ที่ “หนังสั้นมาราธอน 2020” (ตอนที่ 2)

“หนังสั้นมาราธอน” คือกิจกรรมเบิกโรงที่กลายเป็นประเพณีของ “เทศกาลภาพยนตร์สั้น” เทศกาลหนังที่ถือเป็นก้าวสำคัญของคนทำหนังกับบุคลากรในวงการภาพยนตร์ไทยรุ่นปัจจุบันจำนวนมาก ซึ่งจัดต่อเนื่องอายุยืนผ่านทุกความท้าทายมาถึงปีที่ 24 แล้ว

คุกขังเขาได้ แต่หัวใจอย่าปรารถนา : 1+12 ภาพยนตร์ว่าด้วยการจองจำทางการเมืองและการต่อต้าน

นี่คือ 1+12 ที่จะแสดงให้เห็นประวัติศาสตร์ของความเย็นชาที่ผู้ปกครองจะกระทำต่อผู้ที่อยู่ภายใต้การปกครอง และเมื่อประชาชนเพียงจำนวนหนึ่งเริ่มลุกฮือต่อต้าน สิ่งต่างๆ รอบตัวจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร

เข้าป่าหาขุมทรัพย์ภาพยนตร์ที่ “หนังสั้นมาราธอน 2020” (ตอนที่ 1)

“หนังสั้นมาราธอน” (Marathon Short) คือกิจกรรมเบิกโรงที่กลายเป็นประเพณีของ “เทศกาลภาพยนตร์สั้น” (Thai Short Film and Video Festival) เทศกาลหนังที่ถือเป็นก้าวสำคัญของคนทำหนังกับบุคลากรในวงการภาพยนตร์ไทยรุ่นปัจจุบันจำนวนมาก ซึ่งจัดต่อเนื่องอายุยืนผ่านทุกความท้าทายมาถึงปีที่ 24 แล้ว – อายุยืนกว่าเทศกาลภาพยนตร์ใดๆ ก็ตามที่เคยจัดขึ้นในประเทศไทย จริงอยู่ที่เทศกาลภาพยนตร์สั้นได้เปิดพื้นที่และมอบรางวัลให้หนังสั้นไทยอย่างครอบคลุม ทั้งหนังสั้นของบุคคลทั่วไป...

มองภาษาหนังร่วมสมัย ผ่านแนวคิดภาษาศาสตร์เชิงโครงสร้าง

เมื่อพูดถึงหนัง 4 เรื่อง 4 สัญชาติ ได้แก่ ฉลาดเกมส์โกง (ไทย) Parasite (เกาหลี) Joker (อเมริกัน) และ Better Days (จีน) สิ่งที่เหมือนกันอย่างน่าสนใจคือ ต่างเป็นหนังที่ประสบความสำเร็จทั้งด้านรายได้และเสียงวิจารณ์ในประเทศตัวเอง ขณะเดียวกันก็ได้รับการตอบรับจากผู้ชมต่างชาติด้วย...

เจาะแผนสนับสนุนวงการหนังท็อปโฟร์ของโลก (ตอน 5 : รัฐบาลไทยควรเดินทางไหน)

หลังความสำเร็จของหนังเกาหลี กระแสเรียกร้องให้ไทยเดินตามโมเดลการสนับสนุนหนังของเกาหลีก็ดังขึ้นอีกครั้ง แต่ก่อนถึงจุดนั้น ภาณุ อารีชวนคิดว่า อะไรแน่คือองค์ประกอบหลักที่จะทำให้โครงสร้างการสนับสนุนหนังไทยเป็นไปอย่างยั่งยืนจริงๆ?

เจาะแผนสนับสนุนวงการหนังท็อปโฟร์ของโลก (ตอน 4 : เยอรมนี)

ในประเทศที่อุตสาหกรรมหนังแข็งแรงมั่นคง รัฐบาลจะผ่อนการควบคุมและหันมาวางโครงสร้างการส่งเสริมที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพแทน ...ภาณุ อารี สรุปนโยบายหนัง 4 ประเทศสุดแข็งแกร่ง ตอน 4 ว่าด้วย "เยอรมนี"

เจาะแผนสนับสนุนวงการหนังท็อปโฟร์ของโลก (ตอน 3 : สหราชอาณาจักร)

ในประเทศที่อุตสาหกรรมหนังแข็งแรงมั่นคง รัฐบาลจะผ่อนการควบคุมและหันมาวางโครงสร้างการส่งเสริมที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพแทน ...ภาณุ อารี สรุปนโยบายหนัง 4 ประเทศสุดแข็งแกร่ง ตอน 3 ว่าด้วย "สหราชอาณาจักร"

เจาะแผนสนับสนุนวงการหนังท็อปโฟร์ของโลก (ตอน 2 : ฝรั่งเศส)

ในประเทศที่อุตสาหกรรมหนังแข็งแรงมั่นคง รัฐบาลจะผ่อนการควบคุมและหันมาวางโครงสร้างการส่งเสริมที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพแทน ...ภาณุ อารี สรุปนโยบายหนัง 4 ประเทศสุดแข็งแกร่ง ตอน 2 ว่าด้วย "ฝรั่งเศส"

เจาะแผนสนับสนุนวงการหนังท็อปโฟร์ของโลก (ตอน 1 : เกาหลีใต้)

ในประเทศที่อุตสาหกรรมหนังแข็งแรงมั่นคง รัฐบาลจะผ่อนการควบคุมและหันมาวางโครงสร้างการส่งเสริมที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพแทน ...ภาณุ อารี สรุปนโยบายหนัง 4 ประเทศสุดแข็งแกร่ง เริ่มต้นด้วย "เกาหลีใต้"

แมมมี่จ๋า : การเหยียดผู้หญิงผิวดำผ่านรากประวัติศาสตร์การสร้างภาพเหมารวม

หลายคนที่ชมภาพยนตร์อเมริกัน อาจคุ้นตากับตัวละครผู้หญิงผิวดำ รูปร่างท้วม มีหน้าที่ทำงานบ้าน คอยดูแลครอบครัวคนขาวในหนังหลายเรื่อง ตัวอย่างเช่น บทของออคตาเวีย สเปนเซอร์ ใน The Help (2011) หลุยส์ บีเวอร์สใน Imitation of Life (1934) หรือบท...

วันผู้ลี้ภัยโลก: 5 หนังว่าด้วยผู้ลี้ภัยในแผ่นดินที่ไม่มีใครอ้าแขนรับ

วันผู้ลี้ภัยโลก (World Refugee Day) ของปี 2020 ซึ่งตรงกับวันที่ 20 มิถุนายนของทุกปี ท่ามกลางสถานการณ์ของผู้พลัดถิ่นที่ยังพุ่งขึ้นสูงเพิ่มมากขึ้นทุกปี อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากปัญหาการเมืองและความอยุติธรรมในแต่ละประเทศ บ้านเราเองก็เช่นกัน

สิ่งสำคัญนั้นไม่อาจเห็นได้ด้วยตา : ภาพยนตร์ว่าด้วยการบังคับสูญหาย

การบังคับสูญหายเป็นหนึ่งในความชั่วร้ายที่เกิดขึ้นไปในที่ต่างๆ ทั่วโลก เกิดกับผู้คนที่มีความเห็นขัดแย้งกับผู้ปกครองรัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่ง รัฐเผด็จการ หรือกึ่งเผด็จการที่มองชีวิตของผู้คนเป็นเพียงสิ่งของที่สามารถทำให้หายไปได้ และนี่คือการย้อนกลับไปมองประวัติศาสตร์บาดแผลผ่านนานาภาพยนตร์ที่เล่าเรื่องการบังคับสูญหายจากหลายพื้นที่ทั่วโลก

ความพยายามของคนภาพยนตร์ญี่ปุ่นในการรักษาโรงภาพยนตร์อาร์ตเฮ้าส์ท่ามกลางวิกฤติ COVID-19 และหลังจากนี้

เมื่อคนในวงการภาพยนตร์ของญี่ปุ่นออกมาช่วยโรงหนังขนาดเล็กที่ต้องปิดเพราะพิษโควิด-19 และหนังสั้นต่อยอดจาก ‘One Cut of the Dead’ ที่ตั้งใจทำขึ้นเพื่อร่วมช่วยเหลือโรงภาพยนตร์อิสระ