TAG

อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล

ย้อนฟังสุนทรพจน์ส่งท้ายปี 65 : การเดินทางของนักทำหนังที่ชื่อ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล

ทุกครั้งที่ 'อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล' มีโอกาสขึ้นพูดบนเวที สุนทรพจน์ของเขาจะสร้างกระแสความสนใจได้เสมอ อาจกล่าวได้ว่า การพูดของเขานับเป็นการเคลื่อนไหวอย่างหนึ่ง ...Film Club ขอพาย้อนรอยสำรวจว่าเขาแสดงจุดยืนอย่างไรในฐานะนักทำหนังที่เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก

ตื่นเพื่อที่จะฝัน: การตั้งคำถามท้องฟ้าและปมอิดิปัสใน Bodo (1993) และ รักที่ขอนแก่น (2015)

ถ้าหาก “รักที่ขอนแก่น” มีท่าทีของการพยายามทำลายอำนาจเผด็จการทหารและชายเป็นใหญ่ Bodo ก็เช่นกัน ผ่านตัวละครเพศชายจำนวนมากที่ไม่เป็นการเป็นงาน เพราะไม่มีการสู้รบจริงๆ กองทัพจึงเป็นการป้องกันศึกภายในมากกว่าศึกภายนอก

“ราวกับเสียงยังคงก้องอยู่ในแกนกลางของโลก” เสียงในภาพยนตร์ของอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล

ก่อนที่ Memoria จะปรากฎตัวขึ้นพร้อมกับปรากฏการณ์ที่สร้างความตื่นตาตื่นใจของเสียง ผู้ที่ได้รับชมหรือผู้ที่เห็นแม้แต่เพียงแค่ตัวอย่าง ก็ถึงกับสนใจถึงเรื่องเสียงของหนัง การดีไซน์เสียง "ปัง" ของหนัง เสียงกลายเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ดึงดูดคนให้เข้าไปรับชมเป็นประสบการณ์ทางภาพยนตร์โดยทันที

ท่วงท่าของความทรงจำ: การปรับและรับรู้สมดุลของแรงสั่นสะเทือนจากโคลอมเบียถึงไทยใน Memoria (2)

การรับรู้ความรู้สึกและเชื่อมโยงกับความทรงจำกลายเป็นสิ่งสำคัญ เสียงใน Memoria กระตุ้นความทรงจำผ่านการสั่นไหวของกระดูกสามชิ้นในหูชั้นในและส่งกระแสประสาทควบคู่กับการรับรู้ความสมดุลของตำแหน่งของศีรษะผ่านเส้นประสาทคู่ที่ 8 ขึ้นไปที่สมองส่วนธาลามัสที่เป็นจุดทางผ่านของผัสสะ ก่อนจะวิ่งไปแปลผลที่สมองส่วนหน้าและด้านข้าง 

ท่วงท่าของความทรงจำ: การปรับและรับรู้สมดุลของแรงสั่นสะเทือนจากโคลอมเบียถึงไทยใน Memoria (1)

Memoria ทำให้เราสัมผัสถึงการสั่นไหวที่เป็นการเคลื่อนไหวทั้งพื้นพิภพของภาพยนตร์ การยักย้ายปรากฎเป็นการเปิดออกที่เชื่อมโยงไปถึงเวลาหรือชีวิต มากกว่าเนื้อหาและพื้นที่ที่หยุดนิ่ง การสั่นสะเทือนอย่างต่อเนื่องทำให้ภาพยนตร์มีชีวิตเป็นปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา

‘โปรดิวเซอร์คือสะพานระหว่างความฝันและความจริง’ สนทนากับ ดีอานา บุสตามานเต หัวหน้าทีมโปรดิวเซอร์แห่ง Memoria (2021)

ย้อนกลับไปเมื่อปี 2017 อภิชาติพงศ์ได้เจอบุสตามันเตเป็นครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์การ์ตาเฮนา เธอเปรยถึงโคลอมเบีย บ้านเกิดของเธอให้อภิชาติพงศ์ฟังคร่าวๆ ว่าช่างเป็นสถานที่ซึ่ง "เพี้ยนประหลาด"

สรุปดราม่า Memoria และทัวร์ของเขา

หลังจาก Memoria ผลงานเรื่องล่าสุดของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ประกาศแผนการฉายออกไป มันก็สร้างบทสนทนาอันดุเดือดไว้บนโลกออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นในกลุ่มอุตสาหกรรมภาพยนตร์และคนดูหนัง

Memoria (ขอให้) คนทำหนังไทยจงเจริญ

Memoria ไม่ต่างอะไรกับหนังเรื่องก่อนหน้าของอภิชาติพงศ์ที่เราไม่จำเป็นต้องรู้ว่าเนื้อหาข้างในนั้นกำลังเล่าอะไรอยู่ เพราะความน่าค้นหาของหนังเหล่านี้ไม่ใช่การคลี่คลายของเรื่องเล่า แต่มันคือประสบการณ์การดูหนังรูปแบบใหม่ที่อภิชาติพงศ์พาเราเข้าไปสำรวจให้เห็นว่า ศิลปะภาพยนตร์นั้นน่าพิศวงเพียงใด

ดูฟรี! ‘เสียงฟ้าเดือนตุลา’ หนังสั้นเรื่องใหม่ของ อภิชาติพงศ์

ชม ‘เสียงฟ้าเดือนตุลา’ หรือ October Rumbles หนังสั้นเรื่องล่าสุดของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ที่ถ่ายทำในเชียงใหม่ ในช่วงที่เขากลับมาบ้านช่วงโควิดและใคร่ครวญถึงสรรพสิ่งรอบข้าง โดยเป็นการร่วมมือของ The Polygon และนิทรรศการ Third Realm  หนังเปิดให้ชมฟรีถึงวันที่ 12 พ.ย. 63...

ลุงบุญมีระลึกชาติ : ‘น้ำผึ้ง’ ล่องหนกลางวงพาข้าวแลง …ความหวานอมส้มปนขมขื่นของชีวิตที่ถูกลืม

‘ลุงบุญมีระลึกชาติ’ (Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives) อาจมีสถานะเป็นถึงหนังไทยและหนังจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เรื่องแรก-ซึ่งปัจจุบันยังคงเป็นเพียงเรื่องเดียว-ที่สามารถคว้า ‘ปาล์มทอง’ (Palme d’Or) อันเป็นรางวัลใหญ่สุดจากเทศกาลหนังนานาชาติเมืองคานส์มาครองได้เมื่อปี 2010 (พ.ศ. 2553) - ซึ่งหลายคนมองว่ามันคือความสำเร็จที่ดูช่าง...

10 ปีปาล์มทองแรกของไทย ในมุมมองอภิชาติพงศ์

เมื่อ 10 ปีที่แล้ว เป็นช่วงเวลาแห่งการเฉิดฉายในระดับโลกของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล และหนังของเขา ‘ลุงบุญมีระลึกชาติ’ ที่นำรางวัลปาล์มทอง จากเทศกาลหนังเมืองคานส์ ครั้งที่ 63 กลับมายังประเทศไทยเป็นครั้งแรกได้สำเร็จ