TAG

Memoria

“ราวกับเสียงยังคงก้องอยู่ในแกนกลางของโลก” เสียงในภาพยนตร์ของอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล

ก่อนที่ Memoria จะปรากฎตัวขึ้นพร้อมกับปรากฏการณ์ที่สร้างความตื่นตาตื่นใจของเสียง ผู้ที่ได้รับชมหรือผู้ที่เห็นแม้แต่เพียงแค่ตัวอย่าง ก็ถึงกับสนใจถึงเรื่องเสียงของหนัง การดีไซน์เสียง "ปัง" ของหนัง เสียงกลายเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ดึงดูดคนให้เข้าไปรับชมเป็นประสบการณ์ทางภาพยนตร์โดยทันที

ท่วงท่าของความทรงจำ: การปรับและรับรู้สมดุลของแรงสั่นสะเทือนจากโคลอมเบียถึงไทยใน Memoria (2)

การรับรู้ความรู้สึกและเชื่อมโยงกับความทรงจำกลายเป็นสิ่งสำคัญ เสียงใน Memoria กระตุ้นความทรงจำผ่านการสั่นไหวของกระดูกสามชิ้นในหูชั้นในและส่งกระแสประสาทควบคู่กับการรับรู้ความสมดุลของตำแหน่งของศีรษะผ่านเส้นประสาทคู่ที่ 8 ขึ้นไปที่สมองส่วนธาลามัสที่เป็นจุดทางผ่านของผัสสะ ก่อนจะวิ่งไปแปลผลที่สมองส่วนหน้าและด้านข้าง 

ท่วงท่าของความทรงจำ: การปรับและรับรู้สมดุลของแรงสั่นสะเทือนจากโคลอมเบียถึงไทยใน Memoria (1)

Memoria ทำให้เราสัมผัสถึงการสั่นไหวที่เป็นการเคลื่อนไหวทั้งพื้นพิภพของภาพยนตร์ การยักย้ายปรากฎเป็นการเปิดออกที่เชื่อมโยงไปถึงเวลาหรือชีวิต มากกว่าเนื้อหาและพื้นที่ที่หยุดนิ่ง การสั่นสะเทือนอย่างต่อเนื่องทำให้ภาพยนตร์มีชีวิตเป็นปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา

‘โปรดิวเซอร์คือสะพานระหว่างความฝันและความจริง’ สนทนากับ ดีอานา บุสตามานเต หัวหน้าทีมโปรดิวเซอร์แห่ง Memoria (2021)

ย้อนกลับไปเมื่อปี 2017 อภิชาติพงศ์ได้เจอบุสตามันเตเป็นครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์การ์ตาเฮนา เธอเปรยถึงโคลอมเบีย บ้านเกิดของเธอให้อภิชาติพงศ์ฟังคร่าวๆ ว่าช่างเป็นสถานที่ซึ่ง "เพี้ยนประหลาด"

สรุปดราม่า Memoria และทัวร์ของเขา

หลังจาก Memoria ผลงานเรื่องล่าสุดของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ประกาศแผนการฉายออกไป มันก็สร้างบทสนทนาอันดุเดือดไว้บนโลกออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นในกลุ่มอุตสาหกรรมภาพยนตร์และคนดูหนัง

Memoria (ขอให้) คนทำหนังไทยจงเจริญ

Memoria ไม่ต่างอะไรกับหนังเรื่องก่อนหน้าของอภิชาติพงศ์ที่เราไม่จำเป็นต้องรู้ว่าเนื้อหาข้างในนั้นกำลังเล่าอะไรอยู่ เพราะความน่าค้นหาของหนังเหล่านี้ไม่ใช่การคลี่คลายของเรื่องเล่า แต่มันคือประสบการณ์การดูหนังรูปแบบใหม่ที่อภิชาติพงศ์พาเราเข้าไปสำรวจให้เห็นว่า ศิลปะภาพยนตร์นั้นน่าพิศวงเพียงใด