AUTHOR

นภัทร มะลิกุล

จบการศึกษาจากเอกปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ปัจจุบันเป็นนักวิจารณ์หนังและหนังสือให้กับสื่อออนไลน์ และยังเป็น co-founder ของบล็อกคุยเรื่องหนัง afterthescene.com เธอชอบเรียนรู้เรื่องมนุษย์ผ่านสื่อและศิลปะ และมีเป้าหมายอยากเป็นนักเรียนรู้ตลอดชีวิต

Darkest Hour : วาทศิลป์นั้นหรือคืออำนาจ

อาจเป็นดังที่มุราคามิพูดไว้ ความคิดเมื่อออกมาเป็นคำพูดแล้ว กลายเป็นคำโกหกเสมอ เหตุก็เพราะความคิดนั้นเมื่อผ่านการกลั่นกรองออกมาเป็นคำพูด มันก็กลายเป็นอีกสิ่งที่ต่างไปจากสาส์นตั้งต้น เพราะการกรองด้วยคำพูดมีหลายชั้น ทั้งความหมายและไวยากรณ์ทางภาษาอาจทำให้ความหมายดั้งเดิมเสียไป ในทางปรัขญาภาษามีข้อถกเถียงเกี่ยวกับการที่คำสื่อถึงความหมายหนึ่งๆ ได้ไม่เท่ากัน เช่น เมื่อเราพูดถึงสีแดง เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าสีแดงที่เราพูดเป็นแดงเดียวกับของคนอื่นๆ Darkest Hour เป็นหนังเล่าอัตชีวประวัติของวินสตัน เชอร์ชิล บุรุษผู้ร่ำรวยด้วยคำพูดและวาทศิลป์ที่ไม่เหมือนใคร เขานั้น “ใช้ภาษาอังกฤษ และนำมันเข้าสู่สงคราม” จากวันที่มีแต่คนว่าเขาเป็นหมาบ้าแห่งอังกฤษ...

The Kingmaker : การเมืองเรื่องเสื้อผ้าหน้าผมและความเป็นแม่ของอีเมลดา มาร์กอส

"ฉันอยากเป็นแม่ของคนทั้งโลก" อาจฟังดูน่าขันเมื่อได้ยินจากปากอีเมลดา มาร์กอส แต่ "แม่" คือหนึ่งในภาพจำสำคัญมากที่ผู้หญิงใช้เล่นการเมืองได้ ...นภัทร มะลิกุล วิเคราะห์บทบาทแม่ที่อีเมลเลือกให้ตัวเธอเอง

Oasis: Supersonic …สภาวะ “เด็กชาย” นิรันดร์ กับวัฒนธรรมแบบร็อกๆ

จาก Oasis: Supersonic นภัทร มะลิกุลชวนคิดถึง "วัฒนธรรมแบบร็อกๆ" ที่ให้สิทธิ์ผู้ชายได้ห่ามโดยไม่มีใครว่า สภาวะ "เด็กชายในร่างชายหนุ่ม" เช่นนี้เกิดขึ้นในสังคมได้อย่างไร?

Where We Belong : ฉันควบคุมชีวิตตัวเองได้จริงๆ หรือเปล่า

เนื่องในโอกาสที่ Where We Belong ได้รับรางวัลไปถึง 6 สาขาจากชมรมวิจารณ์บันเทิง รวมถึงรางวัลใหญ่อย่างภาพยนตร์ยอดเยี่ยม "นภัทร มะลิกุล" ชอชวนคุยถึงหนังเรื่องนี้ในฐานะหมุดหมายสำคัญที่ทำให้การค้นหาตัวเองของวัยรุ่นมีความหมาย